วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

K ME 27/7/2554

การรบกวนสมดุล และ หลักของเลอ ชาเตอลิเอ
ระบบที่อยู่ในสภาวะสมดุลแล้วก็อาจถูกปัจจัยภายนอก เช่น ความเข้มข้น อุณหภูมิ และความดัน ซึ่งปัจจัยต่างๆเหล่านี้ทำให้ระบบเสียสมดุล ดังนั้นเพื่อที่จะให้ระบบเข้าสู่สมดุลอีกครั้งระบบจะต้องมีการปรับตัวเพื่อเข้าสู่สภาวะสมดุลอีกครั้ง
นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ชื่อเต็มๆ คืออองรี ลุย เลอ ชาเตอลิเอ (Henri Louis Le Chatelier) แกเกิดเมื่อ ปี ค.ศ. 1850 เริ่มต้นการทำงานด้วยการเป็นวิศวกรเหมืองแร่ ก่อนจะมาเอาดีด้านเคมี ด้วยนิสัยที่ชอบคนคว้าและช่างสงสัยทำลุงแกมีผลงานด้านเคมีที่เป็นประโยชน์ต่อนักเคมีรุ่นต่อๆมาอีกมากมาย
ปัจจัยที่รบกวนสมดุล
การเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นของสารตั้งต้นหรือผลิตภัณฑ์
  เพิ่มเกิดปฏิกิริยาตรงข้ามกับสารที่เติมลดไป
  ลดเกิดปฏิกิริยาทางเดียวกับสารที่เติมลดไป
ค่าคงที่สมดุลใหม่เท่ากับสมดุลเดิม(Tเท่าเดิม)
การเปลี่ยนแปลงความดัน PV=nRT
Pแปรผันกับ1/V  n และ T
การลดV หรือเพิ่ม P ทำให้สมดุลเลื่อนไปด้านที่มีจำนวนโมลของแก๊สน้อยกว่า 
การเพิ่มV หรือลด P ทำให้สมดุลเลื่อนไปด้านที่มีจำนวนโมลของแก๊สมากกว่า
เปลี่ยนแปลง T
เป็นตัวทำให้ค่าKเปลี่ยน
ดูที่ ปฏิกิริยาดูดความร้อน ยิ่งเพิ่มTปฏิกิริยายิ่งไปข้างหน้ามาก
      ปฏิกิริยาคายความร้อน ยิ่งลดT ปฏิกิริยายิ่งไปข้างหน้ามาก

วันพุธที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

K ME 10/6/2554 (จากexteen)


ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปัจจัย
1.  ชนิดของสารตั้งต้น
สารตั้งต้นแต่ละชนิด จะมีความสามารถเกิดปฏิกิริยาเคมี ที่แตกต่างกันเมื่อเทียบกันด้วย 1 ต่อ 1 mol
2.  ความเข้มข้นของสารตั้งต้น
 ปฏิกิริยาโดยส่วนมากจะเกิดได้เร็วมากขึ้น ถ้าหากเราใช้สารตั้งต้นมีความเข้มข้นมากขึ้น
 3.  เพิ่มอุณหภูมิ
 จะเป็นการเพิ่มพลังงานจลน์ให้แก่อนุภาคของสารทำให้อนุภาคของสารเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น จึงช่วยเพิ่มโอกาส
ในการชนกันของอนุภาคมากขึ้น
4.  พื้นที่ผิวของสารตั้งต้น
ทำให้โอกาสที่สารจะสัมผัสกันมากขึ้น
5.  ความดัน
เนื่องจากการเพิ่มความดันจะช่วยทำให้โมเลกุลของแก๊สเข้าอยู่มาอยู่ใกล้ชิดกันมากขึ้น จึงมีโอกาสชนกันและเกิดปฏิกิริยาเคมีมากขึ้น

K ME 6/7/2554

พิสูจน์
Kp = Kc (RT) Delta n
จาก
PV = nRT
P = nRT/V
P = MRT
Kp = [MbRT] / [MaRT] a
Kp =(RT / RT a )([Mb] / [Ma] a)
Kp =RT b-a Kc
ดังนั้น
Kp=KcRT b-a